กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ.2505 ได้กำหนดมรรยาทผู้สอบบัญชีไว้ 5 หมวด
ในการกำหนด มรรยาทผู้สอบบัญชี ตามหลักสากลนิยม มีโครงสร้างดังต่อไปนี้
1. หลักการพื้นฐาน เป็นแนวคิดหรือหลักการสำคัญอันเป็นที่มาของข้อกำหนดมรรยาท
2. ข้อกำหนด เป็นบทบัญญัติที่กำหนดมรรยาทของผู้สอบบัญชีเป็นข้อๆ ตามหลักการพื้นฐาน
3. คำชี้แจง เป็นคำอธิบายหลักการพื้นฐานและข้อกำหนดแต่ละข้อให้ชัดเจนในรายละเอียด รวมทั้งการยกตัวอย่างประกอบในบางกรณี
4. คำวินิจฉัย เฉพาะกรณี เป็นผลของการพิจารณที่เกิดขึ้นแล้ว
ได้กำหนดหลักการพื้นฐาน มรรยาทของผู้สอบบัญชี ไว้ 5 หมวด คือ
1. ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต
2. ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
3. มรรยาทต่อลูกค้า
4. มรรยาทต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ
5. มรรยาททั่วไป
ในการกำหนด มรรยาทผู้สอบบัญชี ตามหลักสากลนิยม มีโครงสร้างดังต่อไปนี้
1. หลักการพื้นฐาน เป็นแนวคิดหรือหลักการสำคัญอันเป็นที่มาของข้อกำหนดมรรยาท
2. ข้อกำหนด เป็นบทบัญญัติที่กำหนดมรรยาทของผู้สอบบัญชีเป็นข้อๆ ตามหลักการพื้นฐาน
3. คำชี้แจง เป็นคำอธิบายหลักการพื้นฐานและข้อกำหนดแต่ละข้อให้ชัดเจนในรายละเอียด รวมทั้งการยกตัวอย่างประกอบในบางกรณี
4. คำวินิจฉัย เฉพาะกรณี เป็นผลของการพิจารณที่เกิดขึ้นแล้ว
ได้กำหนดหลักการพื้นฐาน มรรยาทของผู้สอบบัญชี ไว้ 5 หมวด คือ
1. ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต
2. ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
3. มรรยาทต่อลูกค้า
4. มรรยาทต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ
5. มรรยาททั่วไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น